[Management] ประวัติศาสตร์การบริหารจัดการ

ประวัติศาสตร์การบริหารจัดการ MBA PDF


ประวัติศาสตร์การบริหารจัดการ MBA PDF

ประวัติศาสตร์การบริหารจัดการ ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการการบริหารจัดการให้ได้มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มสำคัญสำคัญดังนี้กลุ่มที่ 1 คือกลุ่มการจัดการแบบดั้งเดิมแอดมินที่ 2 คือกลุ่มการจัดการโดยเน้นมนุษยสัมพันธ์กับกลุ่มที่ 3 คือกลุ่มการจัดการในเชิงปริมาณและกลุ่มที่ 4 กลุ่มการบริหารจัดการปัจจุบันมี 4 กลุ่มต่อไปไม่เหม็นคือการบริหารจัดการแบ่งออกเป็น 3 ระดับไหนระดับที่ 1 ก็คือระดับสูงก็คือ Top management ระดับต่อมาคือระดับกลางก็คือมิดเดิ้ล management ระดับที่ 3 คือระดับล่างคือ Lower management คันนี้เรามาดูปัจจัยทางด้านการจัดการซึ่งมันจะมีอยู่ด้วยกันก็คือมี 4m 6m แล้วก็แปะเต็มวันนี้เรามาดูในแต่ละ M นั้นมีอะไรบ้างเอ็มแรกก็คือแมนแมนคือคนบุคลากรคนเนี่ยเต็มที่ 2 คือมันนี่ก็คือเงินเงินลงทุนเงินต่างๆต่อไป material คือวัสดุอุปกรณ์ต่างๆต่อไปมีธุระก็คือวิธีการต่อไปคือมาเก็บก็คือตลาดคือการตลาดนั้นเอง Machine Machine คือเครื่องจักรเครื่องกลเครื่องจักรต่างๆและสุดท้ายคือ malt คือคุณธรรมการบริหารจัดการที่ดีต้องมีคุณธรรมด้วยโปรเซสเม้นก็คือกระบวนการบริหารจัดการซึ่งประกอบไปด้วย input input คือการนำเข้าการนำเข้า input ซึ่งจะประกอบไปด้วย cm 6m 8m ก็แล้วแต่แล้วก็มาสู่กระบวนการโปรเซสคือกระบวนการกระบวนการต่างๆซึ่งกระบวนการนี้ก็อาจจะใช้โมเดลต่างๆอาจจะใช้ทฤษฎีต่างๆเช่น polc posdc หรือว่า to sdc rdf เป็นกระบวนการ management ต่างๆเสร็จแล้วออกไปก็จะเป็น output output ก็จะประกอบไปด้วย of Active คือวัตถุประสงค์แล้วก็โกงก็คือเป้าหมายซึ่ง input process output นั้นจะต้องมีกระบวนการที่เรียกว่า feedback ก็คือการย้อนกลับของข้อมูลนี่คือ Project management ต่อไปการจัดการเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ไซส์ L ก็คือ

เป็นความรู้เขาเรียกว่าโนเลจความเข้าใจในหลักวิชาการบริหารจะต้องมีจะต้องมีความรู้มีโนเลจก็คือตัว k จะต้องมีอาร์ตก็คือเป็นทักษะที่เกิดจากความเ****วชาญชำนาญในการปฏิบัติงานก็คือโดยการจัดการผู้จัดการจะต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์คือเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถนำความรู้นั้นไปปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้การดำเนินงานได้ผลได้ประสิทธิผลตามวัตถุประสงค์ออฟเจคทีฟเนี่ยและเป้าหมาย Goal ที่กำหนดไว้ทฤษฎีการจัดการที่สำคัญแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มดังนี้เมื่อคืนนึงกลุ่มทฤษฎีการจัดการแบบคลาสสิคกรมที่ 2 คือกลุ่มทฤษฎีการจัดการแบบเน้นมนุษยสัมพันธ์คือกลุ่มทฤษฎีการจัดการเชิงปริมาณและกลุ่มที่ 4 คือกลุ่มทฤษฎีการจัดการเป็นปัจจุบันคราวนี้เรามาดูวิวัฒนาการแนวคิดและทฤษฎีทางด้านบริหารจัดการซึ่งเราจะย้อนไป 7500 ปีมาจนถึงปัจจุบัน 5,000 ก่อนคริสตศักราช DC นี้คือก่อนคริสตศักราชไหม 500 ปีก่อนคริสตศักราชชาวสุเมเรียนได้จัดทำบันทึกความสำเร็จในการทำงานไว้ 4,000 2600 ก่อนคริสตศักราชชาวอียิปต์วางแผนจัดองค์การควบคุมและกระจายอำนาจ 1100 ก่อนคริสตศักราชชาวจีนให้ความสำคัญในการออกแบบการจัดโครงการ 350 ก่อนคริสตศักราชชาวกรีกประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ในการบริหารงาน 325 ก่อนคริสตศักราชอเล็กซานเดอร์ตั้งคณะที่ปรึกษาให้คำแนำในการบริหารงาน 280 วีดีโอแถวเรียนมอบหมายอำนาจหน้าที่ในการทำงานคริสตศักราช 1776 ประยุกต์ใช้หลักความชำนาญในการทำงานศตวรรษที่ 17-18 ปฏิวัติอุตสาหกรรมในอังกฤษและยุโรปตะวันออกโดยอังกฤษเป็นหลัก 1,000 869 gulick and urwick สร้างทฤษฎีการจัดการให้ฝ่ายบริหารดำเนินการเขาเรียกว่าโพสต์คือ p o s d Gerrard คิดฉลาด 1881 frederick W Taylor การจัดการแบบวิทยาศาสตร์หาวิธีการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด 1920 ได้เสนอรูปแบบการจัดการองค์กรระบบราชการให้มีประสิทธิภาพในการเริ่มมีระบบราชการเข้ามาแล้วในช่วงนี้คริสตศักราช 1925 เฮนรี่ฟาโยนำหลักการบริหารจัดการโดยภาพรวมหรือบูโรการคิดตลาด 1985 edwards deming สร้างคุณภาพมาตรฐานสินค้า iso และควบคุมคุณภาพด้วย tqm คริสตศักราช 1990 Michael Hammer การจัดการแบบออกคำสั่งหรือระบบเป็นผู้จุดชนวนโดยใช้โมเดล reengineering  2500 Peter f drucker การบริหารจัดการยุคใหม่บริหารตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่เรียกว่า mbo กลุ่มการจัดการแบบคลาสสิค Classic perspective แบ่งออกเป็น 3 แบบแบบที่ 1 คือการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ป 2 การจัดการแบบระบบราชการ 3 การจัดการตามหลักการบริหารแล้วมาดูวันที่ 1 กลุ่มการจัดการแบบวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการจัดการที่อาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพโดยใช้หลักเหตุผลสามารถพิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้โดยผู้ที่คิดค้นคือ frederick W Taylor ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นบิดาของการจัดการแบบวิทยาศาสตร์โดยสร้างแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ในการหาวิธีการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากที่สุดมุ่งให้ผู้ปฏิบัติงานใช้ความรู้ความสามารถมากที่สุดการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตพยายามลดต้นทุนแล้วก็เพิ่มกำไรรวมถึงเพิ่มค่าจ้างให้คนงานที่สามารถเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้นโดยถือหลักของการให้ค่าตอบแทนที่เหมาะสมนี่คือกลุ่มการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ frederick W Taylor ต่อไปหลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์มีหลักการดังต่อไปนี้ก็คือหนึ่งอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือหลักของเหตุผลเพื่อที่จะ

ค้นหาวิธีทำงานที่มีประสิทธิภาพที่สุด 2 กำหนดมาตรฐานของงานคุณภาพและปริมาณและปริมาณของผลงานที่ต้องการโดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับผู้ปฏิบัติใน 3 มีการพิจารณาผลตอบแทนในการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับความต้องการของผลผลิตซึ่งลักษณะที่สำคัญ 4 ประการการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ของเทเลอร์นั้นประกอบไปด้วย 1 พัฒนาความรู้ในวิธีการทำงานโดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์ป 2 ต้องมีการคัดเลือกและพัฒนาคนงานโดยใช้หลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้คนที่เหมาะสมกับงานทำให้งานที่ทำมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 3 มีการร่วมมือกันอย่างจริงจังในการทำงานจากทุกฝ่ายและ 4 มีการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมผลงานที่สำคัญของ Taylor  1 การใช้ระบบค่าตอบแทนรายชิ้นทำมากได้มากทำน้อยได้น้อย 2 หลักการเสียเวลาเป็นการศึกษาเพื่อหาเวลามาตรฐานในการทำงานแต่ละชิ้นว่าควรจะใช้เวลาเท่าใดโดยใช้หลัก put the right Man in the right Job  3 หลักการทำงานตามแบบวิทยาศาสตร์โดยฝ่ายบริหารควรกำหนดวิธีการและมาตรฐานในการปฏิบัติงานโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถวัดและตรวจสอบได้ method and Two  4 หลักการแยกงานด้านการวางแผนออกจากงานปฏิบัติโดยงานด้านการวางแผนเป็นหน้าที่ของฝ่ายบริหารส่วนงานด้านการปฏิบัติเป็นหน้าที่ของคนงานไหม 5 หลักการควบคุมโดยฝ่ายจัดการผู้จัดการควรได้รับการฝึกที่ดีสามารถวางแผนและควบคุมการปฏิบัติงานได้ 6 หลักการจัดระเบียบการปฏิบัติงานการปฏิบัติงานต้องมีกฎระเบียบเพื่อ งานมีประสิทธิภาพต่อไปเป็นการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ของ Henry L gantt Henry L Gran เป็นวิศวกรเครื่องกลได้ร่วมงานกับเทเลอร์แล้วก็ร่วมกันสร้างผลงานหลายอย่างเช่นการฝึกอบรมให้กับพนักงานเพื่อเพิ่มผลผลิตหรือว่าเทนนิ่งและการสร้างแรงจูงใจ motivation ผลงานของ grand ที่สำคัญได้แก่พัฒนาแผนภูมิบันทึกความก้าวหน้าของงานซึ่งเทียบกับเวลาในการชาร์จหรือว่ามาชาร์จต่อมาเรียกว่าเพิร์ธคือ p e r t ย่อมาจากโปรแกรม alisa and Review technique คือระบบการจูงใจโดยการให้โบนัสโดยแกรนด์เนี่ยเชื่อว่าคนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งของปัญหาด้านการจัดการทั้งหมดซองได้รับ

ไม่มีความคิดเห็น