[Management] ทฤษฎี Max Weber

การบริหารจัดการของ ทฤษฎี Max Weber MBA PDF


การบริหารจัดการของ ทฤษฎี Max Weber MBA PDF

ทฤษฎี Max Weber การจัดการในระบบราชการของเวเบอร์นักสังคมวิทยาชาวเยอรมันศึกษาการทำงานภายในองค์การและโครงสร้างของสังคมได้แก่ข้าราชการพลเรือนทหารตำรวจและองค์การของรัฐหรือว่ารัฐวิสหกิจได้เสนอรูปแบบการจัดการที่เรียกว่าระบบราชการซึ่งถือว่าเป็นรูปแบบขององค์การในอุดมคติเป็นรูปแบบขององค์การที่มีประสิทธิภาพซึ่งระบบราชการของเวเบอร์มีลักษณะที่สำคัญอยู่ 6 ประการประการแรกคือมีการจัดชั้นตำแหน่งและสายการบังคับบัญชาไว้อย่างชัดเจนประการที่สองคือมีการแบ่งงานกันทำโดยคำนึงถึงความชำนาญเฉพาะอย่างแต่ละงานมีขอบเขตที่แน่นอนไม่ก้าวก่ายซึ่งกันและกันที่ 3 มีระเบียบกฎเกณฑ์ในการปฏิบัติงานสถานที่ 4 มีการจัดระบบการทำงานและมีระเบียบแผนในการปฏิบัติงานที่ 5 ไม่นำความสัมพันธ์ส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้องในงานทุกคนทำงานโดยยึดหลักเหตุและผลและประการที่ 6 การเลือกคนเข้าทำงานและการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งจะต้องพิจารณาจากความรู้ความสามารถเป็นเกณฑ์คราวนี้เรามาดูหลักการจัดการระบบราชการของ Max weber ซึ่งอันที่ 1 ก็คือมีการแบ่งงานกันทำตามแนวราบทำให้กระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบและมีการแบ่งงานกันทำเพื่อให้เกิดความชำนาญเฉพาะอย่างอันที่ 2 องค์การนั้นๆต้องมีสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้นมีกระทรวงกรมหรือสำนักงานและตำแหน่งงานที่อยู่ใต้หน่วยงานหรือตำแหน่งงานที่อยู่ใต้การดูแลในระดับสูงขึ้นไปที่ 3 ระบบคัดเลือกคนงานผู้ที่เข้าร่วมในหน่วยมันจะต้องถูกคัดเลือกตามความรู้ความสามารถและคุณสมบัติที่มีระบบการคัดเลือกและการสอบคัดเลือกอย่างเป็นระบบหรือว่าเป็นทางการอันที่ 4 คือมีการยึดหลักกฎหมายและบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอันที่ 5 องค์การต้องมีระเบียบและกฎเกณฑ์เพื่อให้สามารถประกันความเป็นเอกภาพในการดำเนินการและกำกับการทำงานของข้าราชการและพนักงานได้อันที่ 6 ความไม่เลือกที่รักมักที่ชังไม่มีการถือหรือนำสายสัมพันธ์ในครอบครัวเป็นใหญ่ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยดำเนินการไปตามระเบียบหรือกฎเกณฑ์เป็นสำคัญและวันที่ 7 การแยกระบบการทำงานออกเป็นสายอาชีพคนทำงานจะเข้าสู่ตำแหน่งตามความสามารถของแต่ละคนมีการเลื่อนขั้นหรือว่าตำแหน่งในหน่วยงานเป็นไปตามลำดับลำดับคราวนี้เรามาดูข้อดีและข้อเสียของระบบราชการข้อดีของระบบราชการก็คือลำดับขั้นของการบังคับบัญชาเป็นเครื่องมือควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ราชการและความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน 2 ไม่สับสนในบทบาทเพราะแต่ละคนรู้ว่าทำอะไรและสามารถตรวจสอบได้ 3 การมีกฎระเบียบทำให้รู้บทบาทช่วยลดต้นทุนในการกำกับดูแล 4 การทำงานในหน่วยงานมีความแน่นอนมีลักษณะ

เป็นหลักฐานอ้างอิงได้ 5 การแบ่งแยกสายงานหรือหลักความรู้วุฒิการศึกษาความชำนาญเฉพาะด้านกระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบตามอำนาจและหน้าที่และ 7 ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งทุกคนต้องทำตามกฎเกณฑ์ ระเบียบที่กำหนดขึ้นในกระทรวงกรมหรือสำนักงานคราวนี้เรามาดูข้อเสียของระบบราชการ 1 มีองค์การปฏิบัติงานกระจายอยู่ทั่วประเทศซึ่งเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางซับซ้อนจนไม่อาจจัดระบบควบคุมตรวจสอบการใช้ดุลพินิจในการใช้อำนาจของข้าราชการทุกคนเป็นการเฉพาะรายรายได้ข้อ 2 ระเบียบข้อบังคับจำนวนมากนี้ได้สร้างความเคยชินกับข้าราชการว่าต้องเน้นความถูกต้องตามระเบียบหรือกฎหมายมากกว่าการเน้นประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานข้อ 3 มีมาตรฐานการจ้างงานเพียงมาตรฐานเดียวทำให้ไม่สามารถจ่ายค่าตอบแทนได้อย่างเหมาะสมกับความรู้หรือความชำนาญหรือประสบการณ์จึงทำให้ผู้ที่มีประสบการณ์สูงไปทำงานในภาคเอกชนเป็นระบบที่ยากที่จะเปลี่ยนแปลงการไม่กล้าเปลี่ยนแปลงนี้ส่งเรื่องมาจากคนไม่กล้าทำลายกฎระเบียบที่มีอยู่เพราะอาจทำให้องค์กรแตกสลายหรือนำไปสู่การเล่นพรรคเล่นพวก 5 มีการผูกขาดข้อมูลข่าวสารมีการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและทำตัวเป็นเผด็จการต่อไป 3 การจัดการตามหลักการบริหารของเฮนรี่ฟาโยเป็นแนวคิดที่เชื่อว่าประสิทธิภาพขององค์การจะเพิ่มขึ้นได้โดยการปรับปรุงกระบวนการบริหารเฮนรี่ฟาโยลเป็นวิศวกรเหมืองแร่ชาวฝรั่งเศสได้ชื่อว่าเป็นบิดาของการจัดการเชิงปฏิบัติการสมัยใหม่แนวคิดของฟาโย 1 วางรากฐานเพื่อการสร้างประสิทธิภาพให้แก่องค์การสามารถพัฒนาผลผลิตของคนงานให้ดีขึ้นได้ 2 ให้ความสำคัญต่อภารกิจทางการบริหารของฝ่ายจัดการไฟล์อยู่แบ่งงานด้านอุตสาหกรรมออกเป็น 6 กลุ่มที่ 1 คือด้านเทคนิคเช่นการผลิตงานโรงงานการปรับตัวที่ 2 ด้านการค้าเช่นการซื้อการขายการแลกเปลี่ยนกลุ่มที่ 3 คือด้านการคลังเช่นการจัดหาทุนการใช้จ่ายทุนกลุ่มที่ 4 คือด้านความมั่นคงเช่นการรักษาคุ้มครองทรัพย์สินและบุคลากรกลุ่มที่ 5 ด้านการบัญชีเช่นงานธุรการพัสดุการงบดุลและสถิติที่ 6 ด้านการจัดการเช่นการวางแผนจัดองค์การการสั่งการประสานงานและการควบคุมหลักการบริหารของฟาโยประกอบไปด้วย 1 การแบ่งงานกันทำ 2 อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 3 ระเบียบวินัย 4 เอกภาพในการบังคับบัญชา 5 เอกภาพของการอำนวยการและ 6 การถือเอาประโยชน์ส่วนรวมก่อนประโยชน์ส่วนตัว 7 ให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม

และเป็นธรรม 8 การรวมอำนาจ 9 การมีสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน 10 การจัดระเบียบ 11 ความเสมอภาค 12 ความมั่นคงในการทำงาน 13 ความคิดริเริ่ม 14 ความสามัคคีการจัดการของฟาโยประกอบไปด้วย 1 การวางแผนก็คือ planning 2 การจัดองค์กรออแกไนซ์ซิ่ง 3 การบังคับบัญชา Command ไหม 4 การประสานงานและ 5 การควบคุม Control โอลิเวอร์เชลล์ดอนชาวอังกฤษได้พัฒนาความคิดในเรื่องของการจัดการและการบริหารซึ่งเชลล์ดอนแบ่งการจัดการเป็น 3 ประการคือ 1 การบริหารเป็นเรื่องเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการวางแผนและประสานงานในหน้าที่ต่างๆอันที่ 2 คือการจัดการเป็นเรื่องเกี่ยวกับการนำนโยบายและแผนมาดำเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดขึ้นไว้และ 3 หน้าที่ในการจัดโครงการเป็นกระบวนการเพื่อประสานงานระหว่างบุคคลหรือระหว่างกลุ่มบุคคลในองค์กรการจัดการตามหลักการบริหารของ gulick & urwick เบอร์เสนอทฤษฎีการจัดการเพื่อฝ่ายบริหารดำเนินการคือ to SD cor บด้วยอันแรก planning คือการวางแผนเป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการและวิธีการเพื่อให้บรรลุผลตามต้องการก็คือออแกไนซ์ซิ่งเป็นการจัดองค์การเป็นการกำหนดโครงสร้างของหน่วยงานเพื่อให้แสดงบทบาทหรือหน้าที่และการใช้อำนาจ Staff เป็นการบริหารบุคคลการคัดเลือกการพัฒนาและรักษาบุคลากรดี คือการสั่งการการใช้อำนาจสั่งการตามสายการบังคับบัญชาหรือเป็นการประสานงานคือ reforming เป็นการรายงานต่อฝ่ายบริหารการประเมินผลเพื่อจัดทำรายงานต่อไปตัวสุดท้ายกระจกดีการจัดทำงบประมาณคือการวางแผนรายรับรายจ่ายและการควบคุมการบริหารตามแบบของเคอรี่ fiio มีดังต่อไปนี้ 1 การวางแผนคือ planning 2 การจัดองค์กรออแกไนซ์ซิ่ง 3 การบังคับบัญชา Command  4 การประสานงานครูออดิชั่นและ 5 การควบคุมคือ Control ส่วนการบริหารจัดการสมัยใหม่ของปีเตอร์เอฟดรักเกอร์ประกอบไปด้วย 1 การวางแผนคือ planning 2 คือการจัดองค์กรออแกไนซ์ซิ่ง 3 การนำหรือจงใจ Reading และ 4 การควบคุมก็คือ Control ต่อไปเป็นการบริหารจัดการในยุคใหม่ของดอกเตอร์ซึ่งประกอบไปด้วยอันแรกคือ planning คือการวางแผนเป็นการกำหนดหน้าที่การงานที่ต้องปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การโดยกำหนดว่าจะดำเนินการอย่างไรและดำเนินการเมื่อไรเพื่อให้สำเร็จตามแผนที่วางไว้การวางแผนต้องควบคุมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 2 organizing ก็คือการจัดองค์การเป็นการมอบหมายงานให้บุคลากรในแผนกหรือฝ่ายใดปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนที่วางไว้เมื่อแผนกหรือฝ่ายประสบความสำเร็จก็จะทำให้องค์การประสบความสำเร็จไปด้วย 3 Reading ก็คือการนำเป็นการจูงใจการชักนำการกระตุ้นการชี้ทิศทางให้ดำเนินไปสู่การบ้านเป้าหมายโดยการเพิ่มผลผลิตและเน้นมนุษยสัมพันธ์ทำให้เกิดระดับผลผลิตในระยะยาวที่สูงกว่าภาวะงานเพราะคนมักไม่ค่อยชอบภาระงานไหมและวันที่ 4  controlling เป็นการควบคุมเป็นภาระหน้าที่ของผู้บริหารที่จะต้องควบคุมดังต่อไปนี้ 1 รวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลดำเนินงาน 2 เปรียบเทียบผลงานปัจจุบันกับเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้และ 3 ทำการตัดสินใจไปตามเกณฑ์หรือไม่กลุ่มการจัดการเน้นมนุษยสัมพันธ์หรือว่า Human relation ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้เนื่องจากการจัดการแบบวิทยาศาสตร์นั้นที่คิดว่ามนุษย์ทำงานเพื่อผลตอบแทนหรือความต้องการในด้านเศรษฐกิจแต่ความจริงแล้วมนุษย์เนี่ยมีชีวิตจิตใจที่ต้องการสิ่งอื่นๆอีกด้วยแอดมินสั้นมาเป็นนักสังคมวิทยาชาวออสเตรเลียและเป็นศาสตราจารย์

ด้านการวิจัยอุตสาหกรรมของ hawaii University ได้ทำการวิจัยซึ่งเป็นการศึกษาวิจัยเชิงทดลองในบริษัท Western Electric ซึ่งได้ทราบผลคือ 1 ประสิทธิภาพการทำงานไม่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่ดีเท่านั้นแต่ยังขึ้นอยู่กับการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์การด้วย 2 กลุ่มทำงานจะเป็นผู้ที่กำหนดคุณลักษณะของสมาชิกแบบวิธีการของกลุ่มตลอดจนความสำเร็จหรือความล้มเหลวขององค์การในสัดส่วนที่กลุ่มยอมรับได้โดยอาศัยความสัมพันธ์เชิงอำนาจของกลุ่มและ 3 เมื่อพนักงานในระดับสูงสามารถจูงใจด้านจิตใจจะมีความสำคัญมากกว่าการจูงใจด้วยเงินต่อไปเป็นการจัดการเน้นมนุษยสัมพันธ์ของมาสโลว์ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ซึ่งประกอบไปด้วย 1 ความต้องการทางด้านร่างกาย 2 ความต้องการความปลอดภัย 3 ความต้องการด้านสังคมป 4 ความต้องการการยกย่องและนับถือ 5 ความต้องการประสบความสําเร็จในชีวิตและ Glass แม็คเกรเกอร์เป็นทฤษฎีการจัดการมนุษย์แบบมนุษยสัมพันธ์โดยใช้หลักการของทฤษฎี x และทฤษฎี Y ลักษณะที่สำคัญของทฤษฎี x ก็คือ 1 พนักงานต้องการทำงานให้น้อยที่สุดดังนั้นผู้บริหารต้องคอยควบคุมสั่งการหรือลงโทษเพื่อให้บุคคลทำงาน 2 พนักงานขาดความทะเยอทะยานและไม่ต้องรับผิดชอบอะไร 3 โดยทั่วไปพนักงานจะต่อต้านการเปลี่ยนแปลงเพราะเกรงว่าตนเองจะเดือดร้อนหรือต้องการทำงานหนักกว่าเดิมต่อไปลักษณะที่สำคัญของทฤษฎี Y ไหมเมื่อคืนหนึ่งชอบทำงาน 2 มีความ ในการแก้ปัญหาในการทำงานเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย 3 พนักงานมีความเต็มใจที่จะเสาะแสวงหางานมาทำและมีความรับผิดชอบ 4 พนักงานจะยอมรับจุดมุ่งหมายขององค์การเพื่อที่จะใช้ความพยายามในการทำงานให้สำเร็จและบรรลุเป้าหมายของโครงการและ 5 พนักงานมีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองได้และยังไม่ได้ใช้ความสามารถที่มีอยู่อย่างเต็มที่แอดมินที่ 3 แอดมินการจัดการในเชิงปริมาณกลุ่มทฤษฎีนี้เน้นแนวคิดของการบริหารที่สนใจทางด้านจำนวนการนำเอาข้อมูลสถิติมาใช้ในการตัดสินใจโดยแบ่งเป็น 3 องค์ประกอบดังนี้ 1 การจัดการแบบวิทยาการการจัดการแบบปฏิบัติการ 3 ระบบสารสนเทศในการจัดการหรือเรียกว่าเมเนจเม้นท์ information System mis การจัดการแบบปฏิบัติการหรือการวิจัยปฏิบัติการนี้จะประกอบไปด้วย 1 เป็นการนำเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่กำลังถึงเหตุผลของการตัดสินใจต้องพิจารณาทางเลือกต่างๆจากข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆหรือใช้การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์และ 3 การใช้โมเดลสถานการณ์จำลองก่อนนำไปใช้จริงงั้นจัดการแบบปฏิบัติการประกอบไปด้วย 1 การจัดการใช้เทคนิคเชิงปริมาณเพื่อปรับปรุงผลผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าและบริการป 2 การคิดค้นออกแบบระบบเพื่อมาควบคุมกระบวนการผลิตการดำเนินงานเช่นการจัดการสินค้าคงคลังเทคนิคตารางเวลาเพื่อช่วยวางแผนการผลิตการจัดการด้วยระบบสารสนเทศนั้นประกอบไปด้วย 1 การพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อนำมาใช้ในการจัดการโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการจัดของข้อมูลที่จำเป็นต่อการตัดสินใจหรืออันที่ 2 ผู้บริหารสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วแอดมินที่ 4 กลุ่มการบริหารจัดการยุคใหม่หรือว่ายุคปัจจุบันการจัดการในยุคปัจจุบันมีเทคนิคใหม่ๆเกิดขึ้นตลอดเวลามีประเทศผู้นำด้านการจัดการได้แก่สหรัฐอเมริกา USA แล้วก็ญี่ปุ่น Japan มีเทคนิคใหม่ๆที่นำมาปรับใช้เช่น 1 การจัดการไปตามวัตถุประสงค์หรือเรียกว่าเม้น by objectives mbo 2 การควบคุมคุณภาพหรือที่เรียกว่าคอลิตี้ Control QC หรือว่า QC ก็ได้อันที่ 3 คือการรื้อปรับระบบเขา

เรียกว่า RE engineering ที่ 4 คือเทคนิคการจัดการแบบ 5 สและวันที่ 5 กลยุทธ์การจัดการเพื่อให้เกิดความเป็นเลิศ Best Practice การจัดการองค์กรการที่บุคคลมาอยู่และปฏิบัติงานร่วมกันโดยมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบหรือแบ่งงานกันทำตามความถนัดเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ส่วนประกอบขององค์การประกอบไปด้วย 1 บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป 2 มีโครงสร้างในการบริหารงาน 3 มีเป้าหมายในการดำเนินงาน 4 มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ 5 มีการสื่อสารประสานงานซึ่งกันและกันเพื่อให้งานนั้นบรรลุผลสำเร็จส่วนองค์การมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท 1 องค์การที่เป็นทางการเรียกว่า formal Organization มี 2 องค์การที่ไม่เป็นทางการจะเรียกว่า informal Organization การจัดองค์การอย่างเป็นทางการจะมีลักษณะก็คือมีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนมีการกำหนดโครงสร้างที่แน่นอนมีกฎระเบียบในการควบคุมพฤติกรรมสมาชิกมีการแบ่งอำนาจหน้าที่ตามความรับผิดชอบมีความสัมพันธ์ของสมาชิกโดยเน้นในเรื่องของงานเป็นหลักมีความยืดหยุ่นน้อยส่วนการจัดองค์การอย่างไม่เป็นทางการซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้มีลักษณะโครงสร้างที่ไม่แน่นอนมีระบบความสัมพันธ์ภายในองค์กรเป็นแบบส่วนตัวมีการรวมตัวกันอย่างหลวมหลวมไม่มีการกำหนดวัตถุประสงค์ล่วงหน้าไม่มีการระบุอำนาจหน้าที่และตำแหน่งของสมาชิกการรวมตัวกันเพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคมแล้วก็มีความยืดหยุ่นมากการจัดองค์การมีความสําคัญอยู่ 3 ประการ 1 หลักการแบ่งงานกันทำตามความสามารถ 2 มิติของงาน 3 คำบรรยายลักษณะงานการพิจารณาตัวงานและการติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างงานมีหลักการอยู่ด้วยกัน 5 ประการก็คือ 1 ทักษะที่หลากหลาย 2 เหตุการณ์รักของงาน ความสำคัญของงานความอิสระและ 5 ข้อมูลย้อนกลับ feedback นั้นเองการจัดโครงสร้างขององค์การโครงสร้างขององค์การเพื่อกำหนดสายบังคับบัญชามี 2 แบบใหญ่ๆดังนี้ 1 การจัดโครงสร้างองค์การแบบสูงซึ่งมีลักษณะเป็นโครงสร้างขององค์การขนาดใหญ่มีสายการบังคับบัญชาลดหลั่นกันลงมาตามลำดับชั้นอย่างซับซ้อนและมากมายข้อดีคือบุคคลที่มีความสามารถไต่เต้าขึ้นสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นไปได้ข้อเสียคือข้อมูลข่าวสารมักถูกบิดเบือนเนื่องจากความสูงขององค์การและการจัดการโครงสร้างองค์การแบบราบเป็นโครงสร้างขององค์การที่เริ่มก่อตั้งหรือเป็นองค์การขนาดเล็กข้อดีคือการสั่งการประสานงานที่รวดเร็วข้อมูลข่าวสารที่ชัดเจนไม่ถูกบิดเบือนส่วนข้อเสียคือพนักงานที่มีความรู้ความสามารถไม่อาจสายใต้ขึ้นสู่ตำแหน่งที่สูงได้แล้วก็อัตราการออกจากงานนั้นสูงนี่คือความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการ

ไม่มีความคิดเห็น